ยาสตรี สตรีแบนโล ยาขับประจำเดือน

ขายยาสอด ขายยาทำแท้ง

ยาสตรี ยาสตรี เป็น ยาแผนโบราณ สรรพคุณคือ บำรุงเลือด บำรุงร่างกาย เจริญอาหาร แก้ประจำเดือนไม่ปกติและเป็นยาแทนการอยู่ไฟ ขับน้ำคาวปลา ช่วยฟอกโลหิต ตำรับยานี้เป็นจัดเป็นยาแผนโบราณที่ไม่ได้เป็นยาสามัญประจำบ้าน ดังนั้นจะต้องวางขายในร้านขายยาที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น

ส่วนประกอบหลักของยาสตรีมีอยู่สองส่วน คือสมุนไพรโกฏเชียง หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ตังกุย กับแอลลกอฮอล์ แอลกอฮอร์ที่มีอยู่เพื่อไว้เป็นตัวสกัดตัวยาออกมา ตัวยาที่ว่าคือ ไฟโตเอสโตรเจน (phytoestrogen) Estrogen เอสโตรเจน เป็นฮอร์โมนเพศหญิงซึ่งร่างกายเราผลิตจากรังไข่ รก หรือต่อมอะดรีนาล estradiol ซึ่งเป็นหนึ่งในเอสโตรเจนหลักๆ 3 ชนิดที่พบในร่างกายมนุษย์ ฮอร์โมนกลุ่มนี้มีผลโดยตรงต่อการแสดงลักษณะ ของเพศหญิง นับตั้งแต่การเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ มีประจำเดือน ตกไข่ ตั้งท้อง ไปจนถึงวัยหมดประจำเดือน estradiol มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการของเนื้อเยื่อปากมดลูก มดลูกและเต้านม phytoestrogen Phytoestrogen เป็นสารอินทรีย์ซึ่งสร้างขึ้นโดยพืช แต่มีคุณสมบัติเช่นเดียวฮอร์โมนเพศหญิงที่เรียกว่าเอสโตรเจน สารเหล่านี้พบได้ทั้งในส่วนเมล็ด ลำต้น รากหรือดอก โดยในพืช สารนี้จะทำหน้าที่เป็นสารฆ่า เชื้อรา (fungicide) หรือเป็น phytoalexin นั่นคือเป็นสารเคมีที่พืชสร้างขึ้นมาเพื่อป้องกันตน เองเมื่อถูกรุกรานโดยจุลชีพphytoestrogen จะมีบางส่วนของสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงหรือเทียบได้กับ steroid nucleus ของ estradiol อันเป็นเอสโตรเจนที่พบในธรรมชาติหรือในร่างกายมนุษย์ ดังนั้นเมื่อกินยาชนิดนี้แล้ว ก็จะมีผลเช่นเดียวกับ estrogen ต่อร่างกาย และสารเหล่านี้อาจเข้าไปมีผลป้องกันหรือปรับเปลี่ยนภาวะความผิดปกติของร่างกาย หรือการเกิดโรคต่างๆ เช่น มะเร็งบางชนิด โรคหัวใจและหลอดเลือด รวมทั้งปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับอาการหลังการหมดประจำเดือน(menopausal symptoms) ได้อีกด้วย การออกฤทธิ์ของไฟโตรเอสโตรเจน ไฟโตรเอสโตรเจนออกฤทธิ์ได้ทั้งเสริมและต้านเอสโตรเจน ในกรณีที่มีเอสโตรเจนในร่างกายมากเกินไป ไฟโตรเอสโตรเจนจะไปจับกับตัวรับของเซลล์ (receptor)ของเอสโตรเจน เกิดการยับยั้ง การทำงานและต้านการออกฤทธิ์ของเอสโตรเจน (anti-oestrogenic effect) ในขณะที่เมื่อร่างกายเกิด การขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน เช่น ในหญิงวัยหมดประจำเดือน ไฟโตรเอสโตรเจนจะไปจับกับตัวรับของเซลล์เอสโตรเจน และออกฤทธิ์เหมือนฮอร์โมนเอสโตรเจน (2) จึงเชื่อว่า ไฟโตเอสโตรเจนอาจจะช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งที่สัมพันธ์กับฮอร์โมน และโรคหัวใจและหลอดเลือด ได้พอๆกับการลดอาการหลังการหมดประจำเดือน ปัจจุบันจึงกล่าวถึง phytoestrogen อย่างกว้าง ขวาง เนื่องจากโครงสร้างและการออกฤทธิ์ที่คล้าย estrogen ดังกล่าวการที่ได้รับสารอาหารธรรมชาติชนิดนี้ จึงน่าจะมีบทบาทในการรักษา อาการที่เกิดขึ้น ในช่วงวัยหมดระดู รวมถึงการปกป้องการเกิดโรคหัวใจและ หลอดเลือดรวมถึงโรคกระดูกพรุน นอกจากนั้นพบว่าประชากรที่มีวิถีชีวิตการกินอยู่ที่สัมพันธ์กับ phytoestrogen อย่างแนบแน่น เช่น กลุ่มที่รับประทานมังสวิรัติ , ประชากรในแถบเอเชียโดยเฉพาะญี่ปุ่น พบว่ามีอัตราการเกิดโรคหัวใจ และมะเร็งต่ำ ปริมาณที่ควรได้รับ ปริมาณไฟโตรเอสโตรเจนที่ควรได้รับจากอาหาร คือ 30 ? 50 มิลลิกรัม (3) ประมาณได้ อย่างคร่าวๆ ดังนี้ – นมถั่วเหลือง 250 ซีซี ? 15-60 มิลลิกรัม – เต้าหู้ 1 ก้อน (115 กรัม) ? 13-43 มิลลิกรัม – โยเกิรต์เต้าหู้ (200 กรัม) ? 26 มิลลิกรัม


จากความเชื่อที่ว่าทานยาสตรี จะทำให้แท้งได้ นั้นผิด เพราะยาสตรี เป็นเพียงยาช่วยขับประจำเดือนเท่านั้น ตัวยาผสมเหล้า จะทำให้การสูบฉีดเลือดดีขึ้น แต่ไม่อาจทำให้แท้งได้ ผลข้างเคียงเท่านั้นที่ทำให้เกิดภาวะแท้ง และจะเกิดแค่เฉพาะบางคนเท่านั้น